แผนกคริสตศาสนธรรม อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

CATECHETICAL CENTER OF BANGKOK ARCHDIOCESE

thzh-CNenfritjako

สมเด็จพระสันตะปาปา: แนวคิดเอกเทวนิยมไม่ก่อให้เกิดความรุนแรง


นครรัฐวาติกัน 7 ธันวาคม 2012 (VIS)


    วันนี้ สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16  ทรงต้อนรับผู้เข้าเฝ้า ซึ่งเป็นสมาชิกของคณะกรรมาธิการนานาชาติที่จะมาร่วมประชุมกัน. สมเด็จพระสันตะปาปาทรงปลาบปลื้มพระทัยสำหรับสารเพื่อปีแห่งความเชื่อที่คณะกรรมาธิการจัดเตรียมขึ้น  ซึ่ง "แสดงให้เห็นถึงวิธีพิเศษในสิ่งที่นักเทววิทยา รับใช้ต่อความจริงของความเชื่ออย่างซื่อสัตย์ ช่วยร่วมกระตุ้นให้มีการประกาศพระวรสาร"

    สารนี้เกี่ยวข้องกับหัวข้อที่พัฒนาอย่างเต็มที่ในเอกสาร "เทววิทยาในปัจจุบัน: มุมมอง หลักการและมาตรการ”  ซึ่งรวบรวม  "รหัสต้นกำเนิดแห่งเทววิทยาคาทอลิก หรือ หลักการที่กำหนดอัตลักษณ์ของพระศาสนจักรและเป็นผลที่ตามมา รับรองความเป็นหนึ่งเดียวกันในการแสดงออกถึงความหลากหลาย... ในบริบททางวัฒนธรรมซึ่งบางคนถูกประจญให้ตัดทอนเทววิทยาในด้านวิชาการที่เชื่อมโยงที่แท้จริงกับความเชื่อ หรือจะไม่มีส่วนในมุมมองระดับมืออาชีพของวิชาเทววิทยา เป็นความเสี่ยงให้เกิดความสับสนกับศาสตร์ต่างๆทางศาสนา เอกสารของท่านเป็นเครื่องเตือนที่ถูกเวลา  ตรงตามวิชาชีพของท่าน สมเหตุผล และอยู่ในระดับมหาวิทยาลัย รวมทั้งรับรองวิสัยทัศน์ที่กว้างและสมบูรณ์ของเหตุผลของมนุษย์ "

    สมเด็จพระสันตะปาปากล่าวถึงบรรทัดฐานของเทววิทยา ควรสงวน “ความเชื่อที่เป็นเอกฉันท์” สภาสังคายนาวาติกันครั้งที่สองยืนยันบทบาทที่เฉพาะเจาะจงและไม่สามารถมาแทนอำนาจการสั่งสอนของพระศาสนจักรได้ ที่เน้นว่า ประชากรของพระเจ้าโดยรวมมีส่วนร่วมในบทบาทเชิงประกาศกของพระคริสตเจ้า ...ของขวัญ ซึ่งเป็น “ความเชื่อที่เป็นเอกฉันท์” อยู่ในผู้มีความเชื่อแบบสัญชาติญาณเหนือธรรมชาติที่มีชีวิตชีวาด้วยความเชื่อเอง   มันเป็นบรรทัดฐานที่ให้ความมั่นใจว่า ความจริงที่แน่ชัดเป็นคลังทรงชีวิตของธรรมประเพณีของบรรดาอัครสาวก. ยังเป็นคุณค่าที่เกิดผลขณะที่พระจิตเจ้าไม่เคยทรงหยุดเกี่ยวกับพระศาสนจักรและทรงนำทางไปสู่ความสมบูรณ์ของความจริง. อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบัน เป็นเรื่องสำคัญที่จะแยกประเภทของบรรทัดฐานที่ให้ “ความเชื่อที่เป็นเอกฉันท์” ออกจากการลอกเลียนแบบ.  สิ่งนี้ไม่ได้เป็นรูปแบบของความคิดเห็นของสาธารณชนในพระศาสนจักร และไม่อาจคิดที่จะอ้างอิงถึงสิ่งนี้ เพื่อท้าทายคำสอนของอำนาจการสอนของพระศาสนจักร เนื่องจาก “ความเชื่อที่เป็นเอกฉันท์” ไม่อาจพัฒนาเกินขอบเขตที่เขามีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ในชีวิตพระศาสนจักร, และดังนั้น  ต้องติดยึดกับอำนาจการสอนของพระศาสนจักรอย่างมีความรับผิดชอบ

    “ปัจจุบันนี้ ความหมายเหนือธรรมชาติของความเชื่อของผู้มีความเชื่อ นำไปสู่ปฏิกิริยาที่กระตือรือร้น พวกเขาต่อต้านอคติในแต่ละศาสนา  และโดยเฉพาะในศาสนาแบบเอกเทวนิยมเฉพาะ มักจะใช้ความรุนแรงเป็นพื้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในบริบทที่พวกเขาอ้างถึงความจริงสากล.  บางคนยืนหยัดว่า เป็นเพียง ‘พหุเทวนิยมเกี่ยวกับคุณค่าต่างๆ’ จะรับรองขันติธรรมและความสงบสุขของพลเมืองโดยทำให้สอดคล้องกับจิตตารมณ์แห่งสังคมประชาธิปไตยแบบพหุนิยม .... ในแง่หนึ่ง สิ่งสำคัญที่ต้องจำไว้ คือ ความเชื่อในพระเจ้าเดียว,พระผู้สร้างฟ้าสวรรค์และ แผ่นดิน ตอบสนองการไตร่ตรองด้านอภิปรัชญา ซึ่งถูกทำให้อ่อนแรงลง แต่จะถูกทำให้แข็งแรงและลึกซึ้งขึ้นด้วยวิวรณ์ของธรรมล้ำลึกแห่งพระเจ้าเที่ยงแท้.  อีกแง่หนึ่ง จำเป็นที่จะเน้นรูปแบบที่วิวรณ์ที่ชัดเจนของธรรมล้ำลึกพระเจ้าเที่ยงแท้ ในพระชนมชีพและการสิ้นพระชนม์ของพระเยซูคริสตเจ้า, นำไปสู่กางเขนเหมือน ‘แกะที่นำไปถูกประหาร’. องค์พระผู้เป็นเจ้าทรงเสนอให้ปฏิเสธรูปแบบความเกลียดชังหรือความรุนแรงแห่งความเป็นเอกสูงสุดของความรักบริสุทธิ์ที่ไม่หวังสิ่งตอบแทน. ขณะที่ตลอดประวัติศาสตร์ มีลักษณะนั้น หรือ จริงๆแล้ว มีรูปแบบของความรุนแรงที่ปฏิบัติการในนามของพระเจ้า, ความมจริง สิ่งเหล่านี้ไม่เกี่ยวกับแนวคิดเอกเทวนิยมเลย แต่มีสาเหตุทางประวัติศาสตร์มากกว่า และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง เป็นความผิดพลาดของมนุษย์. เป็นการลืมพระเจ้าที่ถูกปลูกฝังในสังคมมนุษย์ในรูปแบบของแนวคิดสัมพัทธนิยม ซึ่งก่อให้เกิดความรุนแรงอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้. ครั้งหนึ่ง เป็นไปได้ที่คนเพิกเฉยรูปแบบของความจริงเชิงวัตถุวิสัย, ไม่อาจทำเสวนาได้เลย เพราะมุ่งใช้ความรุนแรง, ไม่ว่าจะมีการประกาศหรือเป็นภาวะซ่อนเร้นก็ตาม, กลายเป็นกฎที่กำลังครอบครองความสัมพันธ์ของมนุษย์.  ถ้าปราศจากการเปิดรับผู้ที่อยู่เหนือธรรมชาติ ซึ่งสามารถทำให้เราพบคำตอบสำหรับคำถามของเราได้ เกี่ยวกับความหมายของชีวิตและวิธีการอยู่กับในสมัยนิยมด้านจริยธรรม, คนเราก็จะไม่สามารถทำหน้าที่ด้วยความยุติธรรมหรือผูกมัดตนกับเพื่อสันติภาพ "

    "ถ้าความร้าวฉานในความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับพระเจ้านำมาซึ่งความไม่สมดุลที่ลึกซึ้งภายในมนุษยชาติเอง, การคืนดีกับพระเจ้าที่เกิดขึ้นโดยพระคริสตเจ้าบน ไม้กางเขน, 'สันติภาพของเรา’ เป็นแหล่งพื้นฐานของความเป็นหนึ่งเดียวกันและความเป็นพี่น้อง"

    สมเด็จพระสันตะปาปายังตรัสอีกว่า  "สิ่งนี้เชื่อมโยงกับการอภิปรายเกี่ยวกับคำสอนเรื่องสังคมของพระศาสนจักรภายในคำสอนเกี่ยวกับความเชื่อโดยรวม. เป็นการยืนยันว่า คำสอนเรื่องสังคมไม่ใช่ส่วนเกินจากภายนอก แต่ปรารถนาจะมีส่วนร่วมในปรัชญาสังคมอันเกี่ยวกับสุขภาพดี, ควรคำนึงถึงหลักการพื้นฐานจากแหล่งเดียวกันคือ ความเชื่อนั่นเอง. หลักความเชื่อนี้ทำให้มีประสิทธิภาพในสถานการณ์ทางสังคมที่หลากหลาย, เป็นพระบัญญัติใหม่ที่องค์พระเยซูเจ้าประทานแก่เรา: 'ให้ท่านทั้งหลายรักกันเหมือนดังที่เรารักท่าน’ (ยน 15.12)

รำพึงพระวาจาประจำวัน

วันอังคาร สัปดาห์ที่ 6 เทศกาลปัสกา พระวรสารตามคำบอกเล่าของนักบุญยอห์น (ยน 16:5-11) เวลานั้น พระเยซูเจ้าตรัสกับบรรดาศิษย์ว่า “บัดนี้เรากำลังไปเฝ้าพระองค์ผู้ทรงส่งเรามา ไม่มีผู้ใดถามเราว่า ‘พระองค์จะเสด็จไปไหน’ แต่เพราะเราได้บอกเรื่องเหล่านี้กับท่าน ใจของท่านจึงมีแต่ความทุกข์ เราบอกความจริงกับท่านทั้งหลายว่า...
วันจันทร์ สัปดาห์ที่ 6 เทศกาลปัสกา พระวรสารตามคำบอกเล่าของนักบุญยอห์น (ยน 15:26-16:4ก) เวลานั้น พระเยซูเจ้าตรัสกับบรรดาศิษย์ว่า “เมื่อพระผู้ช่วยเหลือซึ่งเราจะส่งมาจากพระบิดา จะเสด็จมา คือพระจิตแห่งความจริง ผู้ทรงเนื่องมาจากพระบิดา พระองค์จะทรงเป็นพยานให้เรา ท่านทั้งหลายก็จะเป็นพยานให้เราด้วย...
วันอาทิตย์ที่ 6 เทศกาลปัสกา พระวรสารตามคำบอกเล่าของนักบุญยอห์น (ยน 15:9-17) เวลานั้น พระเยซูเจ้าตรัสกับบรรดาศิษย์ว่า “พระบิดาของเราทรงรักเราอย่างไร เราก็รักท่านทั้งหลายอย่างนั้น จงดำรงอยู่ในความรักของเราเถิด ถ้าท่านปฏิบัติตามบทบัญญัติของเรา ท่านก็จะดำรงอยู่ในความรักของเรา เหมือนกับที่เราปฏิบัติตามบทบัญญัติของพระบิดาของเรา และดำรงอยู่ในความรักของพระองค์...

Don't be afraid

E-Book แผนกคริสตศาสนธรรม อัคสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

สื่อการสอน เกมคำสอน เกมพระคัมภีร์ ออนไลน์

ความสุขแท้จริง 8 ประการ สำหรับครูคำสอน
สื่อการสอน คุณค่าพระวรสาร 21 ประการ
สื่อการสอน คุณค่าพระวรสาร 21 ประการ
คุณค่าพระวรสาร 21 ประการ สำหรับอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก คุณค่าพระวรสาร คือ คุณค่าที่พระเยซูเจ้าสั่งสอน และเจริญชีวิตเป็นแบบอย่างแก่บรรดาสานุศิษย์และประชาชน...
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง อุปมาของพระเยซูเจ้า
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง อุปมาของพระเยซูเจ้า
อุปมาเป็นเรื่องราวสั้นๆ ชวนคิด ที่พระเยซูเจ้าทรงเล่าให้ประชาชนฟัง เพื่อสอนพวกเขาเกี่ยวกับพระเจ้าและหนทางไปสวรรค์
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง "คำสอนของพระเยซูเจ้า"
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง
แผนภูมิความรู้ ความสอนของพระเยซูเจ้า ความเชื่อและการรับศีลล้างบาป ความสุขแท้จริง การเป็นแบบอย่างที่ดี การรักศัตรู การภาวนา ความไว้วางใจในพระเจ้า...

คำสอนสำหรับเยาวชน YOUCAT

226. เมื่อรับศีลล้างบาปเราคืนดีกับพระเจ้าแล้วทำไมจึงต้องมีศีลศักดิ์สิทธิ์แห่งการคืนดีอีก ศีลล้างบาปฉุดเราออกจากอำนาจของบาป ความตาย และนำเราสู่ชีวิตใหม่ สู่การเป็นบุตรของพระเจ้า แต่ไม่ได้ให้เราเป็นอิสระจากความอ่อนแอของมนุษย์ และความโน้มเอียงทางบาป ด้วยเหตุนี้เราจึงต้องการสถานที่ที่เราสามารถคืนดีกับพระเจ้าเรื่อยๆ สถานที่นั้นคือการสารภาพบาป (1425-1426) ดูเหมือนเป็นสิ่งไม่ทันสมัยในการไปสารภาพบาป...
225. ศีลอภัยบาปมีชื่อว่าอย่างไรบ้าง ศีลอภัยบาปยังมีชื่อเรียกอีกว่าศีลแห่งการคืนดี ศีลอภัยบาป ศีลแห่งการกลับใจ หรือศีลแห่งการสารภาพบาป (1422-1424, 1486)
224. ทำไมพระคริสตเจ้าจึงทรงมอบศีลอภัยบาปและศีลเจิมผู้ป่วยแก่เรา ความรักของพระคริสตเจ้าปรากฏในความจริงที่ว่าพระองค์ทรงแสวงหาผู้ที่หายไป และรักษาผู้เจ็บป่วย ด้วยเหตุนี้พระองค์จึงทรงประทานศีลศักดิ์สิทธิ์แห่งการเยียวยารักษา และการบูรณะ ซึ่งทำให้เราเป็นอิสระจากบาป ทำให้ร่างกายและจิตใจของเราที่อ่อนแอเข้มแข็งขึ้น (1420-1421) 67

กิจกรรมพระคัมภีร์

ฟองอากาศ
ฟองอากาศ
ฟองอากาศ เรื่อง การคุยโว พระคัมภีร์ เยเรมีย์ 9:24 ภาพรวม เด็กๆ ได้รับประสบการณ์ในความไร้ประโยชน์ของการคุยโวเรื่องตนเอง และสิ่งสำคัญคือให้ความเชื่อถือในพระเจ้า อุปกรณ์ ขวดใส่น้ำที่ใช้เป่าเป็นฟองเท่าจำนวนเด็ก ประสบการณ์ แจกขวดใส่น้ำที่ใช้เป่าเป็นฟองให้แก่เด็กแต่ละคน ให้เวลาเด็กๆ เป่าฟอง 3 นาที โดยเป่าเท่าที่เขาคุยโวในสัปดาห์นี้ เช่น ฉันขี่จักรยานเป็นระยะทาง 10 กิโลเมตร ฉันเตะบอลชนะตลอด ฉันเป็นคนทำแต้มทุกครั้ง...
สัญญา สัญญา
สัญญา สัญญา
สัญญา สัญญา เรื่อง รักษาสัญญา พระคัมภีร์ ยากอบ 5:12 ภาพรวม ท้าทายเด็กแต่ละคนให้วิ่งผลัดเปลี่ยนกัน และมีประสบการณ์ถึงความยากลำบากของการรักษาสัญญาที่ไม่จริง อุปกรณ์ ถังน้ำ 1 ใบ ช้อน 1 อัน แก้วน้ำใบเล็กๆ ของรางวัลต่างๆ ประสบการณ์ แบ่งเด็กออกเป็น 2 กลุ่มๆ ละเท่าๆ กัน...

ประมวลภาพกิจกรรม

ผู้หว่าน 8
ผู้หว่าน 8
🌾 ผู้หว่าน 8 🌾 วันที่ 2 พฤษภาคม 2024 ทีมคำสอนสัญจร แผนกคริสตศาสนธรรมอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ได้มีโอกาสไปแบ่งปันให้กับผู้ที่มาเข้าคอร์ส "ผู้หว่าน รุ่นที่ 8" จำนวน 14 คน ที่บ้านผู้หว่าน อำเภอสามพราน ในหัวข้อ...
พิธีเอฟฟาธา ฟื้นผู้จิตใจผู้เตรียมเป็นคริสตชน ปี 2024
พิธีเอฟฟาธา ฟื้นผู้จิตใจผู้เตรียมเป็นคริสตชน ปี 2024
🙏 "เอฟฟาธา แปลว่า จงเปิดเถิด" 🙏 วันเสาร์ที่ 30 มีนาคม ค.ศ. 2024 แผนกคริสตศาสนธรรมอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ได้จัด "พิธีเอฟฟาธา" และฟื้นฟูจิตใจผู้เตรียมเป็นคริสตชน ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ บางรัก และห้องประชุมชั้นใต้ดิน (สำนักมิสซัง) ในกฤษฎีกาสมัชชาใหญ่ของพระศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย...

สวดสายประคำ

สายประคำทำให้ความเชื่อเข้มแข็งขึ้น
สายประคำทำให้ความเชื่อเข้มแข็งขึ้น ตลอดประวัติศาสตร์ของพระศาสนจักรคาทอลิก พระสันตะปาปาและนักบุญจํานวนมากสนับสนุนให้สวดสายประคํา เมื่อเราเริ่มเข้าใจและซาบซึ้งในสายประคําและสวดบ่อยขึ้น เราจะเห็นความหมายที่แท้จริงของการรําพึงภาวนา เราเริ่มเห็นคุณค่าว่าคําภาวนานั้นไม่เพียงแต่ถึงพระนางมารีย์...
ทำไมชาวคาทอลิกจึงสวดสายประคำ
ทำไมชาวคาทอลิกจึงสวดสายประคำ (The Rosary)การสวดบทภาวนาเดียวกันซ้ำหลายๆ ครั้ง เป็นวิธีปฏิบัติในบางศาสนา เพราะคิดว่าการสวดภาวนาซ้ำไปซ้ำมาจะได้ผลดีกว่า...

ช่วงเวลาสั้นๆ กับพระเจ้า

วงล้อ
พระเจ้าตรัสอะไรกับท่านในวันนี้ พระ​วาจา​ของ​พระองค์​เป็น​โคม​ส่อง​ทาง​ของ​ข้าพ​เจ้า เป็น​แสง​สว่าง​ส่อง​ทางเดิน​ให้​ข้าพ​เจ้า (สดด 119:105) ภาวนาวอนขอความสว่างจากพระองค์ แล้วหมุนวงล้อ...
วงล้อ พระวาจาหนุนใจในเหตุการณ์ต่างๆ ของชีวิต
ในชีวิตประจำวัน เราจะพบความเศร้า ความกลัว ปัญหา ความทุกข์ยาก ความไม่สบายใจ ความรู้สึกผิด ความหดหู่ ถูกทดลอง เจ็บป่วย...

คำถามที่เด็กๆ อยากรู้เกี่ยวกับพระเจ้า

Messiah
พระเมสสิยาห์ คำว่า พระเมสสิยาห์ เป็นภาษาฮีบรูที่ใช้เรียกพระคริสต์ ซึ่งเปลว่า...
Redeemer
พระผู้ไถ่ เป็นพระนามของพระเยซูคริสตเจ้า ที่หมายถึงว่า พระองค์สิ้นพระชนม์เพื่อไถ่เราให้รอดพ้นจากบาป
tomb
อุโมงค์ฝังศพ คือสถานที่ใช้ฝังศพผู้ตาย อุโมงค์ฝังพระศพของพระเยซูเจ้านั้นมีลักษณะเป็นโพรงหิน

ประวัตินักบุญ

1 พฤษภาคม  ระลึกถึง นักบุญโยเซฟ กรรมกร
1 พฤษภาคม ระลึกถึง นักบุญโยเซฟ กรรมกร (St Joseph the Worker, memorial) เมื่อวันที่ 1...
29 เมษายน ระลึกถึงนักบุญ กาธารีนา แห่งซีเอนา พรหมจารีและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร
29 เมษายน ระลึกถึงนักบุญ กาธารีนา แห่งซีเอนา พรหมจารีและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร ( St. Catherine of Siena ;...
25 เมษายน ฉลองนักบุญมาระโก ผู้นิพนธ์พระวรสาร
25 เมษายน ฉลองนักบุญมาระโก ผู้นิพนธ์พระวรสาร (St. Mark, Evangelist, feast) มีความเห็นพ้องต้องกันโดยทั่วไปว่า ชื่อของ มาระโก ที่มีกล่าวไว้ในหนังสือกิจการอัครสาวก...
25 มีนาคม สมโภชการแจ้งสารเรื่องพระวจนาตถ์ทรงรับสภาพมนุษย์
วันที่ 25 มีนาคม สมโภชการแจ้งสารเรื่องพระวจนาตถ์ทรงรับสภาพมนุษย์ ( The Annunciation of the Lord, solemnity )...

CCBKK Channel

youtube1

Kamson TikTok

tiktok

Facebook CCBKK

วันละหนึ่งนาทีกับนักบุญโยเซฟ

St.Joseph 2021

คำสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

ccc thai web

บทอ่านและบทมิสซา

ordomissae

พระคัมภีร์คาทอลิก

WOPTMR80W7YC0H90QTK7LZC1E1L2WM

บทเพลงศักดิ์สิทธิ์

angels-5b

วิชาคริสต์ศาสนา + จริยศึกษา

poster 2023 moral re

------------------------------------------

poster 2023 christianity re

สถิติเยี่ยมชม (22-2-2012)

วันนี้
เมื่อวานนี้
สัปดาห์นี้
เดือนนี้
เดือนที่แล้ว
ทั้งหมด
2684
10905
30826
76857
346070
36166649
Your IP: 18.188.175.182
2024-05-07 06:59

สถานะการเยี่ยมชม

มี 275 ผู้มาเยือน และ ไม่มีสมาชิกออนไลน์ ออนไลน์