แผนกคริสตศาสนธรรม อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

CATECHETICAL CENTER OF BANGKOK ARCHDIOCESE

thzh-CNenfritjako

การเสวนาด้านศาสนาสัมพันธ์ในคำสอนของพระศาสนจักรคาทอลิก
นครรัฐวาติกัน, 12 พฤศจิกายน 2013 ( VIS )


          มีการแถลงข่าวหนังสือพิมพ์ที่จัดขึ้น ณ สำนักหนังสือพิมพ์ของสันตะสำนักเช้านี้ เพื่อเสนอหนังสือ "Il Dialogo Interreligioso nell'Insegnamento Ufficiale della Chiesa Cattolica ( 1963-2013 )" ( "“Il Dialogo Interreligioso nell'Insegnamento Ufficiale della Chiesa Cattolica (“Interreligious Dialogue in the Official Teaching of the Catholic Church, (1963-2013)”). ผู้ให้สัมภาษณ์ในการแถลงข่าวได้แก่พระคาร์ดินัลชอง-หลุยส์ ตอรอง (Cardinal Jean-Louis Tauran)สมณมนตรีกระทรวงเพื่อการเสวนาทางศาสนาสัมพันธ์และคุณพ่อมิเกล อันเยล อายูโซ กวีโซท ( Fr. Miguel Angel Ayuso Guixot M.C.C.J.) เลขาธิการสมณะชั้นสูงเดิม พร้อมกับพระสังฆราชฟรานเชสโก จิโอเอีย, O.F.M. Cap., (Bishop Francesco Gioia, O.F.M. Cap.)บรรณาธิการหนังสือเล่มนี้

           จุดมุ่งหมายของเล่มสาม,ซึ่งครอบคลุมอำนาจสั่งสอนของพระสันตะปาปาจากการประชุมสภาสังคายนาวาติกันที่สองจนถึงพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16, คือการเสนอความคิดที่เป็นทางการของพระศาสนจักรแก่คริสตชนคาทอลิกและศาสนิกอื่นๆ,ตามด้วยจิตตารมณ์ของ “คำแถลงเรื่องความสัมพันธ์ของพระศาสนจักรกับบรรดาศาสนาที่มิใช่คริสตศาสนา”(“Nostra Aetate”) ซึ่งสนับสนุนผู้เชื่อ, “อาศัยการเสวนาและความร่วมมือกับสมาชิกของศาสนาอื่น,และการเป็นพยานต่อความเชื่อและชีวิตคริสตชน, เพื่อยอมรับ,ปกป้องและส่งเสริมความดีด้านศีลธรรมและความดีด้านจิตวิญญาณ และค่านิยมด้านสังคม-วัฒนธรรมที่พวกเขาเชื่อ”
         พระคาร์ดินัลกล่าวว่า “การเลือกตำรา เคารพความสามารถของสมณกระทรวงเพื่อการเสวนาทางศาสนาสัมพันธ์, อย่างไรก็ตาม แง่หนึ่ง คือ การเสวนากับชาวยิว,ซึ่งเป็นความสามารถของคณะกรรมาธิการเพื่อศาสนาสัมพันธ์กับชาวยิว,กำหนดภายในสมณกระทรวงเพื่อคริสตศาสนจักรสัมพันธ์, และอีกแง่หนึ่ง การเสวนาศาสนสัมพันธ์,หรือความสัมพันธ์ต่างๆกับคริสตจักรอื่นและชุมชนวัด,ซึ่งอยู่ในขอบเขตของสภาเพื่อเอกภาพ”
           หนังสือรวบรวมเอกสารของสภาฯ ได้แก่ พระสมณสาสน์สากล,พระสมณสาสน์เตือนใจและพระโอวาทตั้งแต่(พระสันตะปาปา) นักบุญยอห์นที่ 23 ถึงสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16. มีเอกสารของสมณะชั้นสูงของคูเรียโรมันในเรื่องเสวนาศาสนาสัมพันธ์. มีเอกสารทั้งหมด 909 ซึ่งประกอบด้วยหนังสือของสมณกระทรวง 7 เล่ม, โดย (พระสันตะปาปา)นักบุญยอห์นที่ 23 จำนวน 2 เล่ม ,พระสันตะปาปาเปาโลที่ 6 จำนวน 97 เล่ม,พระสันตะปาปายอห์นที่ 1 จำนวน 2 เล่ม,(พระสันตะปาปา) นักบุญยอห์น ปอลที่ 2 จำนวน 591 เล่ม,พระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 จำนวน  188 เล่ม,โรมัน คูเรีย จำนวน15 เล่ม,ตำรากฎหมาย 3 เล่ม และคณะกรรมาธิการนานาชาติ 4 เล่ม
          “ประโยชน์ของหนังสือเล่มนี้ที่มีความยาวถึง 2100 หน้า,เป็นหนังสือที่ง่ายต่อการใช้และเป็นพื้นฐานทางเทววิทยาของเสวนาด้านศาสนาสัมพันธ์ ในการสอนและปฏิบัติตามอำนาจการสอนของ
พระศาสนจักรคาทอลิก.
        ตัวชี้ 3 ประการ ได้แก่ เชิงวิเคราะห์, เชิงภูมิศาสตร์และความรู้ทั่วไป – จะทำให้ผู้ใช้ได้เนื้อหาที่น่าสนใจมากที่สุดภายใน 2-3 นาทีเท่านั้น, เป็นเพราะเพื่อค้นหาเอกสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์บนอินเตอร์เน็ต”,
          พระคาร์ดินัลกล่าวว่า "ความแปลกใหม่ของหนังสือเล่มนี้  คือการรวบรวมตำรับตำรา พระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16...ทรงทำหมายเหตุประกอบซึ่งมีส่วนรวมสำคัญทีเดียว.  ภายในเวลา 7 ปีของสมณสมัยของพระองค์,เราพบหนังสือด้านเสวนาศาสนาสัมพันธ์จำนวน 188 เล่มจากพระสันตะปาปากิตติคุณเบเนดิกต์ที่ 16,เมื่อเปรียบเทียบกับ 591 เล่มจาก พระสันตะปาปายอห์น ปอลที่ 2 ระหว่างเวลาหนึ่งส่วนสามของศตวรรษ
หัวข้อนี้ทำเพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอในแต่ละสมณสมัย. พระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 ทรงเสนอ “การเสวนาเกี่ยวกับความรักในความจริง”.ที่ใช้เวลา.  พระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 ทรงเสนอ “เสวนาเกี่ยวกับความรักในความจริง”.หนึ่งปีหลังจากพระโอวาทที่เรเกนสบูร์(Regensburg), นักวิชาการมุสลิม 38 ท่าน เพิ่มขึ้นถึง 138 คน, ได้เขียนจดหมายถึงพระสันตะปาปาในเอกสารที่มีชื่อว่า “คำที่ใช้ร่วมกันได้ระหว่าง (ศาสนาของ)เรากับ (ศาสนาของ)ท่าน, เพื่ออธิบายหลักการต่างๆของศาสนาอิสลามและแสดงความหวังสำหรับความเข้าใจร่วมกัน, และความสัมพันธ์ระหว่างศาสนาอิสลามกับศาสนาคริสต์ที่มีพื้นฐานบนความรักที่มีต่อพระเจ้าและต่อผู้อื่น,ตามคำสอนของพระเยซูเจ้า.  ผลของความคิดริเริ่มที่น่าชื่นชม คือการจัดการประชุมที่เปิดรับความเห็นอย่างกว้างขวางระหว่างศาสนาอิสลามกับศาสนาคริสต์, ซึ่งยังดำเนินการอยู่มาจนถึงทุกวันนี้"
           พระคาร์ดินัลยังกล่าวว่า  เช่นเดียวกับพระสันตะปาปาองค์ก่อนๆ พระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 ทรงยืนยันว่า อิสรภาพทางศาสนาเป็นสิทธิที่ศักดิ์สิทธิ์และเอาไปไม่ได้ และต้องไม่สูญเสียโอกาสที่จะยืนยันเรื่องนี้. “ทำให้เชื่อมั่นว่า การปฏิเสธหรือจำกัดอิสรภาพทางศาสนา ตามที่สมัยนิยมที่ทำตามอำเภอใจหมายถึง ต้องปรับปรุงวิสัยทัศน์ที่ลดความเป็นมนุษย์ลงและความเป็นไปไม่ได้ที่จะยืนยันสันติสุขแท้แท้จริงและยั่งยืนสำหรับครอบครัวมนุษย์ทั้งหมด, ซึ่งสมเด็จพระสันตะปาปาทรงถือว่าเป็นสิ่งเดียวกับกระบวนโลกาภิวัตน์,ที่ยังดำเนินการอยู่,เป็นโอกาสที่เป็นผลข้างเคียงในการส่งเสริมความสัมพันธ์ของพี่น้องร่วมโลก"
           ก่อนสรุป, สังฆมนตรีแห่งสังฆกระทรวงได้ยกย่องความเพียรและสนใจในรายละเอียดของพระสังฆราชฟรานเชสโก จีโอเอีย,ซึ่งทำงานกับเจ้าหน้าที่หลายมาสยในคณะสมณชั้นสูง,เพื่อปรับปรุงแก้ไขงานนี้และฉบับก่อนของเล่มนี้ด้วย
          คุณพ่อมิเกล อันเยล อายูโซ กวีโซท(Fr. Miguel Angel Ayuso Guixot) สรุปรายการแถลงการณ์ที่พระสันตะปาปาทรงประกาศในคำสอนที่เกี่ยวกับเสวนาพร้อมกับศาสนิกอื่นๆ. ตัวอย่างเช่น พระสันตะปาปาเปาโลที่ 6 , ใน พระสมณสาสน์ “พระศาสนจักรของพระองค์" (Ecclesiam Suam), แสดงความเชื่อมั่นที่ลึกซึ้งของพระองค์ซึ่ง  “พระศาสนจักรต้องทำการเสวนากับโลกที่เราอาศัยอยู่. นั่นคือ สารที่จะให้ ซึ่งเป็นการสื่ออย่างหนึ่ง”. สมเด็จพระสันตะปาปายอห์นที่ 1 ถึงแม้ทรงดำรงในสมณสมัย 33 วัน, ก็ทรงเดินตามเส้นทางเดิมของพระสันตะปาปาองค์ก่อน “เรียกร้องให้ทุกคนร่วมมือกันสร้างที่หลบภัย,ภายในชาติต่างๆ เพื่อต่อต้านความรุนแรงที่มืดบอดและส่งเสริมการปรับปรุงสภาพของประชากรที่อับโชค..”
         สมเด็จพระสันตะปาปายอห์น ปอลที่สองทรงพัฒนา "วัฒนธรรมแห่งการเสวนา"(Culture of dialogue)  และ,ตามด้วยเหตุการณ์ของ 11 กันยายน 2001 และผลที่น่าเศร้าที่ตามมาในภูมิภาคตะวันออกกลางและตะวันออกใกล้, ได้เสนอบัญญัติสิบประการเพื่อความสงบสุขแก่บรรดาประมุขของรัฐและผู้แทนของรัฐบาลทั่วโลก.  ในตอนต้นของสมณสมัยของพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่16และสมเด็จพระสันตะปาปายอห์น ปอลที่ 2 ทรงปลุกให้ตื่นด้วยการตรัสว่า “พระศาสนจักรปรารถนาให้สร้างสะพานมิตรภาพกับศาสนิกของทุกศาสนาต่อไป เพื่อแสวงหาความดีที่แท้จริงของทุกคนและของสังคมโดยรวม"

          พระองค์ทรงสรุปว่า “เส้นทางยังยาวไกล” "แต่พร้อมกับสมเด็จพระสันตะปาปาฟรังซิสที่ยังคงทำเสวนาแห่งมิตรภาพต่อไป. ภายใน 2-3 เดือนเท่านั้น, สมเด็จพระสันตะปาปาฟรังซิสได้ทรงจัดประชุมหลายครั้งกับตัวแทนของศาสนาอื่นๆ และตรัสเกี่ยวกับการเสวนาระหว่างศาสนามากมายทีเดียว ขอให้เราระลึกว่า ปีนี้สมเด็จพระสันตะปาปาลงพระนามในสารประจำปีแก่ชุมชนมิสลิมที่ฉลองการสิ้นสุดของเดือนรอมฎอน"

รำพึงพระวาจาประจำวัน

วันจันทร์ สัปดาห์ที่ 5 เทศกาลปัสกา พระวรสารตามคำบอกเล่าของนักบุญยอห์น (ยน 14:21-26) เวลานั้น พระเยซูเจ้าตรัสว่า ”ผู้ที่มีบทบัญญัติของเรา และปฏิบัติตาม ผู้นั้นรักเรา และผู้ที่รักเรา พระบิดาของเราก็จะทรงรักเขา และเราเองก็จะรักเขา...
วันอาทิตย์ที่ 5 เทศกาลปัสกา พระวรสารตามคำบอกเล่าของนักบุญยอห์น (ยน 15:1-8) เวลานั้น พระเยซูเจ้าตรัสว่า “เราเป็นเถาองุ่นที่แท้จริง และพระบิดาของเราทรงเป็นชาวสวน กิ่งก้านใดในเราที่ไม่เกิดผล พระองค์จะทรงตัดทิ้งเสีย กิ่งก้านใดที่เกิดผล พระองค์จะทรงลิด เพื่อให้เกิดผลมากขึ้น...
วันเสาร์ สัปดาห์ที่ 4 เทศกาลปัสกา พระวรสารตามคำบอกเล่าของนักบุญยอห์น (ยน 14:7-14) เวลานั้น พระเยซูเจ้าตรัสว่า “ถ้าท่านทั้งหลายรู้จักเรา ท่านก็รู้จักพระบิดาของเราด้วย บัดนี้ ท่านก็รู้จักพระบิดา และเห็นพระองค์แล้ว” ฟีลิปทูลว่า...

Don't be afraid

E-Book แผนกคริสตศาสนธรรม อัคสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

สื่อการสอน เกมคำสอน เกมพระคัมภีร์ ออนไลน์

ความสุขแท้จริง 8 ประการ สำหรับครูคำสอน
สื่อการสอน คุณค่าพระวรสาร 21 ประการ
สื่อการสอน คุณค่าพระวรสาร 21 ประการ
คุณค่าพระวรสาร 21 ประการ สำหรับอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก คุณค่าพระวรสาร คือ คุณค่าที่พระเยซูเจ้าสั่งสอน และเจริญชีวิตเป็นแบบอย่างแก่บรรดาสานุศิษย์และประชาชน...
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง อุปมาของพระเยซูเจ้า
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง อุปมาของพระเยซูเจ้า
อุปมาเป็นเรื่องราวสั้นๆ ชวนคิด ที่พระเยซูเจ้าทรงเล่าให้ประชาชนฟัง เพื่อสอนพวกเขาเกี่ยวกับพระเจ้าและหนทางไปสวรรค์
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง "คำสอนของพระเยซูเจ้า"
สื่อการเรียนการสอน เรื่อง
แผนภูมิความรู้ ความสอนของพระเยซูเจ้า ความเชื่อและการรับศีลล้างบาป ความสุขแท้จริง การเป็นแบบอย่างที่ดี การรักศัตรู การภาวนา ความไว้วางใจในพระเจ้า...

คำสอนสำหรับเยาวชน YOUCAT

223. ศีลมหาสนิทเป็นการกระทำล่วงหน้าถึงชีวิตนิรันดรอย่างไร พระเยซูเจ้าทรงสัญญากับบรรดาศิษย์ของพระองค์ และกับเราพร้อมกับพวกท่านเหล่านั้นว่า สักวันหนึ่งเราจะมีที่นั่งที่โต๊ะกับพระองค์ ดังนั้นทุกๆมิสซาเป็น “การระลึกถึงพระทรมานอันทรงบุญ” (บทขอบพระคุณแบบที่ 1 ที่เรียกว่ากฎหมายโรมัน) ซึ่งเปี่ยมด้วยพระหรรษทาน และเป็นมัดจำของสิริรุ่งโรจน์ในอนาคต...
222. อาจโปรดศีลมหาสนิทให้กับผู้ที่มิใช่คริสตชนด้วยหรือ ศีลมหาสนิท เป็นการแสดงออกถึงความเป็นหนึ่งเดียวกันของพระกายของพระคริสตเจ้า การเป็นของพระศาสนจักรคาทอลิก บุคคลนั้นต้องได้รับศีลล้างบาปในพระศาสนจักร มีส่วนร่วมในความเชื่อของพระศาสนจักร ดำเนินชีวิตร่วมกันกับพระศาสนจักร จะเป็นความขัดแย้งกันถ้าพระศาสนจักรจะเชิญผู้ที่ยังไม่มีส่วนร่วมในความเชื่อ และยังไม่ดำเนินชีวิตตามพระศาสนจักรเข้ามารับศีลมหาสนิท จะเป็นความเสียหายของความน่าเชื่อถือของเครื่องหมายแห่งศีลมหาสนิท (1398...
221. ศีลมหาสนิทเปลี่ยนแปลงเราอย่างไร ทุกครั้งที่รับศีลมหาสนิทยิ่งทำให้ฉันเป็นหนึ่งเดียวกับพระคริสตเจ้าได้ลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น ทำให้ฉันเป็นสมาชิกที่มีชีวิตชีวาของพระกายพระคริสตเจ้า ฟื้นฟูพระหรรษทานที่ฉันได้รับในศีลล้างบาป และศีลกำลัง และสร้างป้อมปราการให้ฉันในการต่อสู้กับบาป (1391-1397,1416)

กิจกรรมพระคัมภีร์

ฟองอากาศ
ฟองอากาศ
ฟองอากาศ เรื่อง การคุยโว พระคัมภีร์ เยเรมีย์ 9:24 ภาพรวม เด็กๆ ได้รับประสบการณ์ในความไร้ประโยชน์ของการคุยโวเรื่องตนเอง และสิ่งสำคัญคือให้ความเชื่อถือในพระเจ้า อุปกรณ์ ขวดใส่น้ำที่ใช้เป่าเป็นฟองเท่าจำนวนเด็ก ประสบการณ์ แจกขวดใส่น้ำที่ใช้เป่าเป็นฟองให้แก่เด็กแต่ละคน ให้เวลาเด็กๆ เป่าฟอง 3 นาที โดยเป่าเท่าที่เขาคุยโวในสัปดาห์นี้ เช่น ฉันขี่จักรยานเป็นระยะทาง 10 กิโลเมตร ฉันเตะบอลชนะตลอด ฉันเป็นคนทำแต้มทุกครั้ง...
สัญญา สัญญา
สัญญา สัญญา
สัญญา สัญญา เรื่อง รักษาสัญญา พระคัมภีร์ ยากอบ 5:12 ภาพรวม ท้าทายเด็กแต่ละคนให้วิ่งผลัดเปลี่ยนกัน และมีประสบการณ์ถึงความยากลำบากของการรักษาสัญญาที่ไม่จริง อุปกรณ์ ถังน้ำ 1 ใบ ช้อน 1 อัน แก้วน้ำใบเล็กๆ ของรางวัลต่างๆ ประสบการณ์ แบ่งเด็กออกเป็น 2 กลุ่มๆ ละเท่าๆ กัน...

ประมวลภาพกิจกรรม

พิธีเอฟฟาธา ฟื้นผู้จิตใจผู้เตรียมเป็นคริสตชน ปี 2024
พิธีเอฟฟาธา ฟื้นผู้จิตใจผู้เตรียมเป็นคริสตชน ปี 2024
🙏 "เอฟฟาธา แปลว่า จงเปิดเถิด" 🙏 วันเสาร์ที่ 30 มีนาคม ค.ศ. 2024 แผนกคริสตศาสนธรรมอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ได้จัด "พิธีเอฟฟาธา" และฟื้นฟูจิตใจผู้เตรียมเป็นคริสตชน ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ บางรัก และห้องประชุมชั้นใต้ดิน (สำนักมิสซัง) ในกฤษฎีกาสมัชชาใหญ่ของพระศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย...
ค่ายคำสอนลูกแม่พระ ปี 2024
ค่ายคำสอนลูกแม่พระ ปี 2024
🎊 “ท่องโลกพระคัมภีร์”🎊 วันศุกร์ที่ 22 มีนาคม 2024 ทีมคำสอนสัญจรได้ไปกิจกรรมพิเศษของค่ายคำสอนลูกแม่พระ ให้กับเด็กนักเรียนคำสอน วัดแม่พระฟาติมาดินแดง กว่า 50 คน ในหัวข้อ “ท่องโลกพระคัมภีร์” วันนี้ เด็กๆ ได้เรียนรู้เรื่องราวความเป็นมาของพระคัมภีร์ตั้งแต่พันธสัญญาเดิมเรื่อยมาจนถึงพันธสัญญาใหม่ ผ่านทางวีดีโอ ควบคู่ไปกับการเติมคำในช่องว่าง และยังได้ทำกิจกรรมเพื่อช่วยให้จดจำชื่อหนังสือพระคัมภีร์ได้มากขึ้น...

สวดสายประคำ

สายประคำทำให้ความเชื่อเข้มแข็งขึ้น
สายประคำทำให้ความเชื่อเข้มแข็งขึ้น ตลอดประวัติศาสตร์ของพระศาสนจักรคาทอลิก พระสันตะปาปาและนักบุญจํานวนมากสนับสนุนให้สวดสายประคํา เมื่อเราเริ่มเข้าใจและซาบซึ้งในสายประคําและสวดบ่อยขึ้น เราจะเห็นความหมายที่แท้จริงของการรําพึงภาวนา เราเริ่มเห็นคุณค่าว่าคําภาวนานั้นไม่เพียงแต่ถึงพระนางมารีย์...
ทำไมชาวคาทอลิกจึงสวดสายประคำ
ทำไมชาวคาทอลิกจึงสวดสายประคำ (The Rosary)การสวดบทภาวนาเดียวกันซ้ำหลายๆ ครั้ง เป็นวิธีปฏิบัติในบางศาสนา เพราะคิดว่าการสวดภาวนาซ้ำไปซ้ำมาจะได้ผลดีกว่า...

ช่วงเวลาสั้นๆ กับพระเจ้า

วงล้อ
พระเจ้าตรัสอะไรกับท่านในวันนี้ พระ​วาจา​ของ​พระองค์​เป็น​โคม​ส่อง​ทาง​ของ​ข้าพ​เจ้า เป็น​แสง​สว่าง​ส่อง​ทางเดิน​ให้​ข้าพ​เจ้า (สดด 119:105) ภาวนาวอนขอความสว่างจากพระองค์ แล้วหมุนวงล้อ...
วงล้อ พระวาจาหนุนใจในเหตุการณ์ต่างๆ ของชีวิต
ในชีวิตประจำวัน เราจะพบความเศร้า ความกลัว ปัญหา ความทุกข์ยาก ความไม่สบายใจ ความรู้สึกผิด ความหดหู่ ถูกทดลอง เจ็บป่วย...

คำถามที่เด็กๆ อยากรู้เกี่ยวกับพระเจ้า

Messiah
พระเมสสิยาห์ คำว่า พระเมสสิยาห์ เป็นภาษาฮีบรูที่ใช้เรียกพระคริสต์ ซึ่งเปลว่า...
Redeemer
พระผู้ไถ่ เป็นพระนามของพระเยซูคริสตเจ้า ที่หมายถึงว่า พระองค์สิ้นพระชนม์เพื่อไถ่เราให้รอดพ้นจากบาป
tomb
อุโมงค์ฝังศพ คือสถานที่ใช้ฝังศพผู้ตาย อุโมงค์ฝังพระศพของพระเยซูเจ้านั้นมีลักษณะเป็นโพรงหิน

ประวัตินักบุญ

29 เมษายน ระลึกถึงนักบุญ กาธารีนา แห่งซีเอนา พรหมจารีและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร
29 เมษายน ระลึกถึงนักบุญ กาธารีนา แห่งซีเอนา พรหมจารีและนักปราชญ์แห่งพระศาสนจักร ( St. Catherine of Siena ;...
25 เมษายน ฉลองนักบุญมาระโก ผู้นิพนธ์พระวรสาร
25 เมษายน ฉลองนักบุญมาระโก ผู้นิพนธ์พระวรสาร (St. Mark, Evangelist, feast) มีความเห็นพ้องต้องกันโดยทั่วไปว่า ชื่อของ มาระโก ที่มีกล่าวไว้ในหนังสือกิจการอัครสาวก...
25 มีนาคม สมโภชการแจ้งสารเรื่องพระวจนาตถ์ทรงรับสภาพมนุษย์
วันที่ 25 มีนาคม สมโภชการแจ้งสารเรื่องพระวจนาตถ์ทรงรับสภาพมนุษย์ ( The Annunciation of the Lord, solemnity )...
19 มีนาคม  สมโภชนักบุญโยเซฟ ภัสดาของพระนางมารีย์พรหมจารี
วันที่ 19 มีนาคม สมโภชนักบุญโยเซฟ ภัสดาของพระนางมารีย์พรหมจารี (St. Joseph, Spouse of the Blessed Virgin...

CCBKK Channel

youtube1

Kamson TikTok

tiktok

Facebook CCBKK

วันละหนึ่งนาทีกับนักบุญโยเซฟ

St.Joseph 2021

คำสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

ccc thai web

บทอ่านและบทมิสซา

ordomissae

พระคัมภีร์คาทอลิก

WOPTMR80W7YC0H90QTK7LZC1E1L2WM

บทเพลงศักดิ์สิทธิ์

angels-5b

วิชาคริสต์ศาสนา + จริยศึกษา

poster 2023 moral re

------------------------------------------

poster 2023 christianity re

สถิติเยี่ยมชม (22-2-2012)

วันนี้
เมื่อวานนี้
สัปดาห์นี้
เดือนนี้
เดือนที่แล้ว
ทั้งหมด
6425
11603
18028
327747
306218
36071469
Your IP: 18.222.162.216
2024-04-29 06:16

สถานะการเยี่ยมชม

มี 326 ผู้มาเยือน และ ไม่มีสมาชิกออนไลน์ ออนไลน์