การจัดพิมพ์นามานุกรมเกี่ยวกับบทเทศน์(Homiletic Directory)
นครรัฐวาติกัน 10 กุมภาพันธ์ 2015 (VIS)

    สมณสภาเพื่อพิธีกรรมและศีลศักดิ์สิทธิ์ จัดพิมพ์นามานุกรมบทเทศน์ (Homiletic Directory) ซึ่งเริ่มด้วยกฤษฏีกาของพระคาร์ดินัลอันโตนิโอ คันนิซาเรส  โลเวรา (Cardinal Antonio Canizares Llovera), สมณมนตรีแห่งสมณะชั้นสูง ลงนาม ณ วันที่  29 มิถุนายน 2014, ตรงกับวันสมโภชอัครสาวกเปโตรและเปาโล. นอกจากนี้  Archbishop Arthur Roche  เลขาธิการของสมณสภาเดียวกัน ลงนามในหนังสือนี้ด้วย
             พระคาร์ดินัลเขียนว่า "นามานุกรมนี้เป็นประเด็นที่สมเด็จพระสันตะปาปาฟรังซิสทรงใส่พระทัยในหัวเรื่องของบทเทศน์ในพระสมณสาส์น เตือนใจ “ความชื่นชมยินดีแห่งพระวรสาร” (Evangelii Gaudium),  “แง่บวกและแง่ลบของบทเทศน์ของบรรดาสังฆราชในการประชุมสมัชชาพระสังฆราช, และแนะนำ Archbishop Arthur Roche  นักเทศน์ ในพระสมณลิขิต “-ศีลมหาสนิท-ศีลศักดิ์สิทธิ์แห่งความรัก” (Sacramentum Caritatis) ของสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16
                จากมุมมองนี้,และเชื่อมั่นในการจัดทำพระธรรมนูญว่าด้วยพิธีกรรม (Sacred Liturgy Sacrosanctum Concilium),และตามมาด้วยคำสอนแห่งอำนาจการสอนของพระศาสนจักร, และความเข้าใจ “บทนำสำหรับบทอ่านประจำพิธีบูชาขอบพระคุณ และใช้คำแนะนำทั่วไปของพิธีบูชาขอบพระคุณแบบโรมัน (Roman Missal)'”, มาเตรียมนามานุกรมบทเทศน์” 2 ภาคนี้.
    “ในภาคแรก ชื่อ “บทเทศน์และกรณีแวดล้อมด้านพิธีกรรม”,  บรรยายลักษณะ,หน้าที่,และบริบทเฉพาะของบทเทศน์. บรรยายมุมมองอื่นๆ ที่ใช้เป็นคำนิยามได้, นั่นคือ ศาสนบริกรที่ได้รับศีลบวชศักดิ์สงฆ์อย่างเหมาะสม ที่ส่งมาพิมพ์,การเตรียมคำอ้างอิงสำหรับพระวาจาของพระเจ้าเพื่อประพันธ์และผู้รับทั้งอยู่ใกล้และอยู่ไกล
                 ภาคที่สอง “ศิลปะในการสอน”  ('Ars praedicandi'- The Art of  Teaching) , ปัญหาที่จำเป็นของวิธีการและเนื้อหาที่ผู้เทศน์ต้องรู้และนำไปตระเตรียมและเพิ่มตัวอย่างประกอบบทเทศน์    คำบอกเล่ามาจากการค้นคว้า เสนอกุญแจสู่การตีความเพื่อวงจรของวันอาทิตย์และวันฉลองต่างๆ,เริ่มที่ใจกลางปีพิธีกรรม (ตรีวารและเทศกาลปัสกา,เทศกาลมหาพรต,เทศกาลคริสตสมภพ,และเทศกาลธรรมดา), และสำหรับพิธีบูชาขอบพระคุณวันธรรมดา,  พิธีแต่งงานและพิธีศพ. ในตัวอย่างเหล่านี้,นำเกณฑ์ที่เป็นโครงร่างในภาคแรกของนามานุกรมที่นำไปปฏิบัติได้: ที่ระบุไว้ในส่วนแรกของนามานุกรมที่จะนำไปสู่การปฏิบัติตามประเภทพันธสัญญาเดิมและพันธสัญญาใหม่ ความสำคัญของการอ่านพระวรสาร  การลำดับตามบทอ่านและการเชื่อมต่อระหว่างภาควจนพิธีกรรม และภาคศีลมหาสนิท ข้อความจากพระคัมภีร์และตำรับตำราด้านพิธีกรรม ระหว่างการเฉลิมฉลองและการดำเนินชีวิต        และระหว่างการฟังพระเจ้าและการประชุมโดยเฉพาะ
             "ภาคผนวกของหนังสืออยู่ต่อจากเนื้อหาหลัก. ครั้งแรกมีความตั้งใจที่จะแสดงให้เห็นถึงการเชื่อมโยงระหว่างบทเทศน์กับหลักความเชื่อของพระศาสนจักรคาทอลิก ให้คำอ้างอิงแก่การสอนคำสอนตามหัวเรื่องหลักความเชื่อต่างๆในบทอ่านสำหรับแต่ละอาทิตย์และการฉลองใน 3 รอบปี. ในภาคผนวกที่สอง อ้างอิงอำนาจการสอนเกี่ยวกับบทเทศน์
           "หนังสือนี้ถูกนำเสนอแก่บรรดาปิตาจารย์ในสันตะสภาเพื่อพิธีกรรมและศีลศักดิ์สิทธิ์ มีการทบทวนและอนุมัติในที่ประชุมสมัยสามัญของการประชุมวันที่ 7 กุมภาพันธ์และวันที่ 20 พฤษภาคม 2014. นำเสนอสมเด็จพระสันตะปาปาฟรังซิสที่ทรงอนุมัติการพิมพ์ของหนังสือนามานุกรมบทเทศน์. สมณสภามีความยินดีจึงจะนำมาใช้   ปรารถนาว่า “บทเทศน์เป็นประสบการณ์ที่เข้มข้นและประสบการณ์แห่งความสุขในพระจิตเจ้า, พบการปลอบใจจากพระวาจาของพระเจ้า, ซึ่งเป็นแหล่งคงที่ของการฟื้นฟูและการเจริญเติบโต” (Evangelii Gaudium, 135) . นักเทศน์แต่ละคน ทำให้เราเข้าถึงความรู้สึกนึกคิดของอัครสาวกเปาโล คือการฟื้นฟูความเข้าใจ “ตามที่พระเจ้าทรงเห็นชอบมอบข่าวดีไว้กับเรา เราจึงประกาศข่าวดีนี้ มิใช่เพื่อเอาใจมนุษย์ แต่เพื่อเป็นที่พอพระทัยพระเจ้าผู้ทรงพิสูจน์จิตใจเรา” (1 ธส 2: 4)
             "มีการแปลนามานุกรมนี้เป็นภาษาหลัก ที่สมณชั้นสูงนี้  ดำเนินการ ส่วนสภาพระสังฆราชเป็นผู้รับผิดชอบแปลเป็นภาษาอื่น ๆ
"จากสำนักงานของสมณสภาเพื่อพิธีกรรมและศีลศักดิ์สิทธ์ในวันที่ 29 มิถุนายน 2014  การสมโภชนักบุญเปโตรและนักบุญเปาโลอัครสาวก"